ถ้าเราซื้ออาหารนอกบ้าน แล้วคนทำอาหารเป็นโควิด เรากินอาหารที่เขาทำจะติดโรคไหมครับ
หมายถึงพ่อครัวที่ทำอาหารเป็นโควิด แล้วทำอาหารไปพูดไป น้ำลายก็มีโอกาสกระเด็นลงในอาหาร
คนกินอย่างเรามีโอกาสติดไหม
คนกินอย่างเรามีโอกาสติดไหม
สมาชิกหมายเลข 6462995
9 กรกฎาคม เวลา 19:44 น.
9 กรกฎาคม เวลา 19:44 น.
แหล่งที่มา pantip.com
ให้อาหารมันร้อนอีกรอบไวรัสก็ไม่เหลือแล้วครับ ก่อนกินก็ล้างมือฟอกสบู่อีกรอบ
ถ้าพ่อครัวใส่แมสก์ด้วยก็เซฟขึ้นอีกนิดนึง
9 กรกฎาคม เวลา 19:55 น.
9 กรกฎาคม เวลา 19:58 น.
9 กรกฎาคม เวลา 20:15 น.
9 กรกฎาคม เวลา 20:21 น.
9 กรกฎาคม เวลา 20:42 น.
10 กรกฎาคม เวลา 08:52 น.
9 กรกฎาคม เวลา 20:20 น.
9 กรกฎาคม เวลา 22:54 น.
10 กรกฎาคม เวลา 15:34 น.
10 กรกฎาคม เวลา 22:53 น.
11 กรกฎาคม เวลา 07:00 น.
11 กรกฎาคม เวลา 09:11 น.
– อุณหภูมิ,ความสุกของอาหาร
– ระยะเวลาตั้งแต่ปรุงอาหารจนถึงมือเรา
– วิธีการทำอาหาร
หรืออีกหลายๆปัจจัยที่มีสิทธิ์ทำให้อาหารปนเปื้อนเชื้อโรคจากพ่อครัวได้
9 กรกฎาคม เวลา 22:24 น.
ระบบย่อยอาหาร น่าจะทำให้โควิดตายหมดแล้วนะครับ
11 กรกฎาคม เวลา 10:00 น.
เราไม่ได้เทอาหารเข้าปากไปเลยตรงๆ ยังมีภาชนะใส่อาหารตอนซื้อ,จานชาม อื่นๆอีก ยังไม่นับเรื่องกลิ่นหรือละอองที่ลอยตามอากาศอีกครับ
11 กรกฎาคม เวลา 21:47 น.
งดสลัดไปก่อน
9 กรกฎาคม เวลา 22:35 น.
เช่นเค้าเผลอเช็ดเหงื่อที่หน้า
เอามาใส่ถุงคุณรับมา คันตาพอดี ขนี้ตา บูม
9 กรกฎาคม เวลา 22:36 น.
ยกตัวอย่างเช่น พ่อครัวเป็นโควิด ก่อนจะสับไก่ใส่ข้าวมันไก่ที่เย็นชืดให้เราได้เอามือเช็ดน้ำมูกที่มีเชื้อมหาศาลอยู่ ทำให้มีเชื้อโควิดปนเปื้อนอยู่ที่ไก่และกล่องรวมถึงถุงต่างๆที่เป็นหีบห่อ
บังเอิญวันนั้นอุณหภูมิเย็นสบาย ความชื้นสูง แถมตอนเอาอาหารกลับบ้านยังเปิดแอร์บนรถเย็นฉ่ำ
เชื้อโรคจำนวนหนึ่งเลยยังไม่ตายตอนที่ถึงบ้านเรา
พอเรากินเชื้อก็มีโอกาสสัมผัสกับเยื่อบุต่างๆในช่องปาก รวมทั้งเชื้อที่อาจปนเปื้อนอยู่ตามถุงก็อาจจะติดที่มือเรา พอเราขยี้ตาก็อาจนำเชื้อเข้าร่างกายได้
การลดโอกาสติดเชื้อให้น้อยที่สุดคือ ล้างมือบ่อยๆ ไม่จับหน้าจับตาตัวเอง และอุ่นอาหารให้ร้อนก่อนกินครับ ทำไม่ยากเลย
9 กรกฎาคม เวลา 22:44 น.
คือคนสับไก่ แลดูไม่น่าไว้วางใจ มือไม่ค่อยล้าง ถุงมือก็ใช้จนเยิน
11 กรกฎาคม เวลา 18:05 น.
10 กรกฎาคม เวลา 08:43 น.
10 กรกฎาคม เวลา 08:53 น.
จากเอกสารนี้ โควิดไม่สามารถติดต่อกันทางอาหารครับ
https://dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30613
10 กรกฎาคม เวลา 09:08 น.
ทางเดินอาหารส่วนบน กับทางเดินหายใจส่วนบนคือช่องเดียวกัน ทางเดินอาหาร เริ่มจากปาก ผ่าน oropharynx ผ่านหลอดอาหาร ลงไปกระเพาะ
ทางเดินหายใจ เวลาหายใจ ลมหายใจผ่านจมูก ผ่าน nasopharynx ลงไป oropharynx ก่อนลงไป หลอดลม ไปปอด
ถ้า oropharynx มีเชื้อ จากการกินอาหารที่ปนเปื้อน Droplet ที่มีโควิด เวลาหายใจเข้าไป มันจะไม่มีโอกาสเลยหรือที่จะพัดพาเอาเชื้อเข้าไปยังหลอดลมและปอดได้
12 กรกฎาคม เวลา 16:24 น.
1. มีเชื้อโควิดอยู่ในอาหารที่จุด A,
2. ตักอาหารที่จุด A เข้าปาก เคี้ยว แล้วกลืน
3. เกิดสำลักกับพอดีที่เศษอาหารส่วนที่สำลักมีเชื้อโควิดพอดี
12 กรกฎาคม เวลา 16:41 น.
12 กรกฎาคม เวลา 17:52 น.
12 กรกฎาคม เวลา 19:58 น.
23 กรกฎาคม เวลา 03:06 น.
แต่การสัมผัสถุงใส่กับข้าวเราว่ามีโอกาสติดนะ
10 กรกฎาคม เวลา 11:36 น.
10 กรกฎาคม เวลา 12:00 น.
10 กรกฎาคม เวลา 14:20 น.
แตาได้รับถุง ภาชนะมาแล้ว ฉีดแอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อก่อนนะ
10 กรกฎาคม เวลา 14:44 น.
10 กรกฎาคม เวลา 15:59 น.
เป็นไปได้ว่าบุคคลหนึ่งสามารถติดเชื้อโควิด-19 ได้โดยการสัมผัสพื้นผิวหรือวัตถุ รวมถึงอาหารหรือบรรจุภัณฑ์อาหารที่มีไวรัสอยู่ จากนั้นสัมผัสปาก จมูก หรือดวงตาของตนเอง แต่ไม่ได้เป็นวิธีการหลักในการแพร่กระจายไวรัส
หลังจากซื้อของ หยิบจับบรรจุภัณฑ์อาหาร ก่อนรับประทานอาหาร ควรล้างมือด้วยสบู่และน้ำอย่างน้อย 20 วินาทีเสมอ หากไม่มีสบู่และน้ำ ให้ใช้เจลที่มีแอลกอฮอล์อย่างน้อย 60% ทำความสะอาดมือและถูให้เข้ากันจนรู้สึกแห้ง
• ความเสี่ยงที่จะติดเชื้อไวรัสโควิด-19 จากอาหารที่คุณปรุงเองหรือการบริโภคอาหารจากร้านอาหารและสั่งกลับบ้านนั้นถือว่าต่ำมาก ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานว่าอาหารเกี่ยวข้องกับการแพร่กระจายของโควิด-19
• ความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสจากอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร หรือถุงยังถือว่าต่ำมาก ในปัจจุบันยังไม่มีการระบุกรณีของโควิด-19 ที่คาดว่าติดเชื้อจากการสัมผัสอาหาร บรรจุภัณฑ์อาหาร หรือถุงช้อปปิ้ง
• แม้ว่าคนที่ทำงานในโรงงานผลิตและแปรรูปอาหารจะได้รับเชื้อโควิด-19 แต่ก็ไม่มีหลักฐานว่าไวรัสแพร่กระจายไปยังผู้บริโภคผ่านอาหารหรือบรรจุภัณฑ์
อ่านเพิ่มเติม
https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/daily-life-coping/food-and-COVID-19.html
10 กรกฎาคม เวลา 16:34 น.
10 กรกฎาคม เวลา 17:06 น.
10 กรกฎาคม เวลา 17:08 น.
10 กรกฎาคม เวลา 17:44 น.
10 กรกฎาคม เวลา 19:39 น.
10 กรกฎาคม เวลา 21:05 น.
10 กรกฎาคม เวลา 22:12 น.
10 กรกฎาคม เวลา 22:26 น.
10 กรกฎาคม เวลา 22:30 น.
10 กรกฎาคม เวลา 23:16 น.
11 กรกฎาคม เวลา 10:22 น.
11 กรกฎาคม เวลา 10:38 น.
ถ้าทำเองก็เอาให้แน่ใจว่าสุกแล้ว
11 กรกฎาคม เวลา 13:43 น.
11 กรกฎาคม เวลา 14:31 น.
11 กรกฎาคม เวลา 15:17 น.
แต่ที่น่ากลัวคือมือที่จับเชื้อโรค ที่ ขยี้ตา หรือขยี้จมูก อันนี้ โอกาษติดสูงกว่ากินเข้าไปมาก ๆ ครับ
ล้างมือบ่อย ๆ
12 กรกฎาคม เวลา 09:58 น.
12 กรกฎาคม เวลา 14:15 น.
12 กรกฎาคม เวลา 14:19 น.
ภาชนะ ถุงพลาสติก หรือของอะไรก็ตาม ที่ผ่านมือคนอื่นมา มาจากนอกบ้าน ทั้งหมดต้องคิดเสมือนว่า มีการ Contaminate ด้วยเชื้อโควิดมาแล้ว เอาเข้าบ้านมา จะเอาไปวางมั่วซั่วไม่ได้ แนะนำหาถาดหรือกะละมังใส่ลงไป ค่อยถ่ายอาหารใส่ภาชนะใหม่ก่อนนำไปอุ่น ถุงต่างๆ ที่ปนเปื้อน ก็ทิ้งถังขยะค่ะ แล้วค่อยทำความสะอาดถาดหรือกะละมังที่ปนเปื้อนอีกที ตอนถ่ายอาหารใส่ภาชนะใหม่ ต้องระวังอย่างมาก อย่าให้มือเราที่สัมผัสถุงอาหารปนเปื้อน ไปโดนภาชนะใหม่ที่ไม่ได้ปนเปื้อน เพราะเราอาจต้องนำไปวางบนโต๊ะก่อนนำไปโดนความร้อน เพื่อความรวดเร็วอาจต้องมีคนช่วย 1 คน ล้างมือให้สะอาด 6 ขั้นตอน ก่อนเอามือไปสัมผัสไมโครเวฟ หรือสิ่งต่างๆ ภายในบ้าน
12 กรกฎาคม เวลา 15:42 น.
12 กรกฎาคม เวลา 15:58 น.