แกงป่า ภาษาอังกฤษใช้ forest curry ได้มั้ยครับ
13 มีนาคม เวลา 21:03 น.
อย่างแกงป่า ต่อให้คนไทยที่ไม่เคยกิน แค่ได้ยินชื่อ “ป่า” ก็จะไม่รู้ว่ามันรสชาติเป็นไง หรือมีอะไรเด่นจากแกงปกติ ไม่รู้ด้วยซ้ำว่าคำว่า “ป่า” นี้คือหมายถึงตรงส่วนไหน หรือเกี่ยวข้องอะไรกับแกงนี้
แกงป่า คือแกงที่เด่นกว่าแกงอื่นตรงที่ใส่กระชาย ดังนั้นถ้าแปลให้คนต่างชาติเข้าใจก็ควรจะเป็น spicy curry with fingerroot คนไม่เคยกินพอได้ยินดังนี้ก็จะเริ่มนึกภาพออก และจินตนาการถึงรสออกว่ามันจะแนวไหน แต่ถ้าใช้คำว่า jungle ก็จะไม่รู้อยู่ดี เพราะคนเราคงไม่รู้ว่า “ป่า” มันรสชาติเป็นยังไง (เข้าใจว่าแกงป่ามันมีหลายสูตร บางสูตรอาจจะไม่ใส่กระชายก็ได้ ดังนั้นใส่เครื่องเทศอะไรเป็นหลักที่เป็นตัวชูกลิ่นรสที่เป็นเอกลักษณ์ ก็เอาอันนั้นมาใส่ในชื่อได้ครับ)
ครูผมสอนย้ำเสมอว่าจุดมุ่งหมายของการแปลคือการทำให้อีกฝ่ายเข้าใจ ถ้าแปลออกมาเป็นคำได้แต่อ่านแล้วไม่เข้าใจอยู่ดี ก็ถือว่าเป็นการแปลที่ล้มเหลว
14 มีนาคม เวลา 14:31 น.
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
13 มีนาคม เวลา 21:10 น.
– curry soup
– hot&spicy curry soup
13 มีนาคม เวลา 21:11 น.
แนะนำให้ใช้ curry soup ครับ
13 มีนาคม เวลา 22:14 น.
13 มีนาคม เวลา 22:39 น.
14 มีนาคม เวลา 04:13 น.
แกงป่าปลาดุก Spicy Catfish clear curry
แกงป่าหมู Spicy Pork curry
แกงป่าไก่ Spicy Chicken curry
แกงป่าเนื้อ Spicy Beef curry
แกงป่าหมูป่า Wild boar
countrycurryhttps://amwishunitech.com/news-detail.php?id=132&category=2
14 มีนาคม เวลา 05:44 น.
มากมายหลายประเทศ เราเรียกชื่อทับศัพท์ของเขามาเลย
ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเอง อาหารเหล่านี้หลายอย่างก็เรียกทับศัพท์เหมือนกัน
แล้วทำไมอาหารไทย ต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษนะ หรือความนิยมยังไม่มากพอ
ไม่ได้ชาตินิยมอะไรมากมาย แค่สงสัยครับ
14 มีนาคม เวลา 09:38 น.
14 มีนาคม เวลา 12:34 น.
ยายผมตอนแรกก็ไม่รู้จักซูชิ ต้องบอกปลาดิบ/อาหารทะเลบนข้าวปั้น เขาถึงเข้าใจ
ถ้าเคยกินแล้ว เข้าใจแล้ว อยากเรียกทับศัพท์ก็ตามใจ แต่ขอให้สังเกตอย่างนึงว่า ของที่ทับศัพท์ได้ มันต้องมีความเป็นอินเตอร์ระดับนึง คือมีคนต่างชาติรู้จักกันแพร่หลาย อย่างของไทย ต้มยำกุ้ง ผัดไทย หมี่กรอบ ก็ทับศัพท์กันนะ
และในมุมกลับ อาหารต่างชาติที่ไม่ค่อยดัง หรือเป็นของเฉพาะถิ่นก็มีมากครับที่เราไม่เรียกทับศัพท์กัน
14 มีนาคม เวลา 14:29 น.
14 มีนาคม เวลา 13:47 น.
ตอนเด็กๆ ก็มีบางคน ( แต่ไม่ใช่ครู ) สอนว่า p = ป. จะให้เป็น พ. ให้เพิ่ม h ไป ทอนเสียง
แต่เราเห็น ph ภาษาอังกฤษ เป็น ฟ. เช่น phone, phonetic, philipe, Philippines
15 มีนาคม เวลา 00:27 น.
15 มีนาคม เวลา 16:18 น.
เราเดาว่าคนสมัยก่อนอาจจะเรียนกับครูที่มาจากอินเดีย หรือฟิลิปปินส์กัน เลยมักจะให้เป็นตัว ป ไว้ก่อน
อักษร P ออกเสียงประมาณ เผอะ ( เหมือนเม้มปากเบาๆ และมีลมระเบิดเบาๆ ที่ริมฝีปาก )
อย่าง Peter คนไทยจะออกเสียงเป็น ปีเตอร์ แต่เราฟังอเมริกันออกเสียงประมาณ พี้เต้อ หรืออาจเรียกชื่อเล่น ว่า พีท
ส่วนภาษาคาราโอเกะที่เรียกทับศัพท์ อย่าสนใจคำแปลนักเลยค่ะ (ถ้ามันไม่ได้มีความหมายที่มันแย่เกินไป ) เราว่าเครียดเปล่าๆ
เพราะจุดประสงค์การสะกดเป็นภาษาคาราโอเกะส่วนใหญ่ก็เพื่อให้ต่างชาติออกเสียงตามได้ใกล้เคียงเท่านั้นเองค่ะ
ทั้งนี้ที่กล่าวมาทั้งหมด เราพูดถึงการสะกดและออกเสียงคาราโอเกะทั่วไปแบบชาวบ้านง่ายๆ นะคะ จะไม่รวมถึง
ภาษาอังกฤษแบบที่สะกดมาจากรากศัพท์เดิมของคำไทย อย่าง บาลี สันสกฤต อีกที เพราะมันยากค่ะ เราก็ไม่ค่อยทราบ
16 มีนาคม เวลา 00:14 น.
ไม่งั้นข้าวซอย เดี๋ยวกลายเป็น sliced rice
14 มีนาคม เวลา 13:52 น.
แล้วค่อยเขียนกำกับว่า Thai Curry without Coconut Milk แบบนี้ชัดเจนกว่า
14 มีนาคม เวลา 14:18 น.
อย่างแกงป่า ต่อให้คนไทยที่ไม่เคยกิน แค่ได้ยินชื่อ “ป่า” ก็จะไม่รู้ว่ามันรสชาติเป็นไง หรือมีอะไรเด่นจากแกงปกติ ไม่รู้ด้วยซ้ำว่าคำว่า “ป่า” นี้คือหมายถึงตรงส่วนไหน หรือเกี่ยวข้องอะไรกับแกงนี้
แกงป่า คือแกงที่เด่นกว่าแกงอื่นตรงที่ใส่กระชาย ดังนั้นถ้าแปลให้คนต่างชาติเข้าใจก็ควรจะเป็น spicy curry with fingerroot คนไม่เคยกินพอได้ยินดังนี้ก็จะเริ่มนึกภาพออก และจินตนาการถึงรสออกว่ามันจะแนวไหน แต่ถ้าใช้คำว่า jungle ก็จะไม่รู้อยู่ดี เพราะคนเราคงไม่รู้ว่า “ป่า” มันรสชาติเป็นยังไง (เข้าใจว่าแกงป่ามันมีหลายสูตร บางสูตรอาจจะไม่ใส่กระชายก็ได้ ดังนั้นใส่เครื่องเทศอะไรเป็นหลักที่เป็นตัวชูกลิ่นรสที่เป็นเอกลักษณ์ ก็เอาอันนั้นมาใส่ในชื่อได้ครับ)
ครูผมสอนย้ำเสมอว่าจุดมุ่งหมายของการแปลคือการทำให้อีกฝ่ายเข้าใจ ถ้าแปลออกมาเป็นคำได้แต่อ่านแล้วไม่เข้าใจอยู่ดี ก็ถือว่าเป็นการแปลที่ล้มเหลว
14 มีนาคม เวลา 14:31 น.
15 มีนาคม เวลา 02:53 น.
15 มีนาคม เวลา 15:42 น.
16 มีนาคม เวลา 02:00 น.
14 มีนาคม เวลา 15:56 น.
14 มีนาคม เวลา 18:22 น.
ถ้าเป็นเมนูเฉพาะร้าน ผักกับเนื้อระบุเลยก็ได้ค่ะ เพราะฝรั่งเขาชอบดูว่ามีอะไรที่เขากินได้หรือแพ้บ้าง จะได้ไม่ใส่อันนั้น หรือไม่สั่งเมนูนี้
( แต่ถ้าร้านในต่างประเทศ ไม่มีพริกไทยอ่อน กับกระชายสดใส่ ไม่ต้องระบุก็ได้นะคะ แต่มันมักมีอยู่ในพริกแกงสำเร็จอยู่แล้ว
จะบอกเขาว่ามีกลิ่นหอมของ 2 อย่างนี้ก็ได้ค่ะ )
หมายเหตุ ลอกการบ้านคนอื่นรวมๆ มา
เมื่อ 10 กว่าปีก่อน ตอนทำงานร้านไทยในอเมริกา บางร้านใช้ Jungle curry ( จริงๆ มันก็ไม่ถูกนัก แต่ก็เรียกตามร้านเขา/อาจจะเป็นกิมมิกให้ฝรั่งฮือฮา ) แล้วอธิบายกันว่า เป็น Spicy clear curry ( no coconut milk ) ใส่ผักหลายอย่าง แต่ละร้านอาจใส่ไม่เหมือนกัน ก็จะระบุคร่าวๆ แล้วให้เลือกเนื้อสัตว์ได้ค่ะ
15 มีนาคม เวลา 01:00 น.
ถ้าให้เดี๊ยนแปลเอง มันจะมีความ herbal หรือ herb and spicy อยู่ค่ะ อ้างอิงจาก แกงแค
15 มีนาคม เวลา 05:53 น.
15 มีนาคม เวลา 06:57 น.
15 มีนาคม เวลา 07:52 น.
15 มีนาคม เวลา 20:52 น.
แล้วจะใส่คำอธิบายส่วนประกอบต่ออีกบรรทัด
ส่วน มัสมั่น กับ พะแนง ใช้ทับศัพท์
15 มีนาคม เวลา 22:13 น.
16 มีนาคม เวลา 07:57 น.