ร้านซุชิร้อยเยนที่ยี่ปุ่น ทำไมมาเปิดเมืองไทยราคาเริ่มต้น40บาท
ล่าสุด ร้อยเยน 28.4บาท
แถมค่าแรงคนไทยต่ำกว่ายี่ปุ่นเกิน5เท่า
สมาชิกหมายเลข 6079255
5 เมษายน เวลา 17:36 น.
5 เมษายน เวลา 17:36 น.
ความคิดเห็นที่ 11
ค่าแรงขั้นต่ำ ญี่ปุ่น ชม ละ 900เยน ซูชิ 100เยน =ทำงานชั่วโมงเดียวกินซูชิได้ 9จาน ถ้าทำวันละ8ชม ได้วันละ72จาน
ค่าแรงขั้นต่ำไทย ทำทั้งวัน 331 ซูชิ จาน40 =ทำงานทั้งวัน กินซูชิได้ 8จานกว่าๆเอง
มันต่างกันเกินไปไหม
แล้วเรื่องต้นทุน เป็นไปไม่ได้เลย ที่ค่าเช่าที่ กทม จะแพงกว่าโตเกียว ค่าจ้าง พนงก็ถูกกว่ายังไงที่ไทย ต้นทุนก็ถูกกว่าแน่ๆ
สมาชิกหมายเลข 6079255
6 เมษายน เวลา 15:49 น.
6 เมษายน เวลา 15:49 น.
ความคิดเห็นที่ 13
ตอนแรกว่าจะอธิบายแต่คิดว่า จขกท.คงไม่คิดที่จะเข้าใจอะไรหรอก คนอะไรเม้นท์เองกดถูกใจข้อความตัวเองก็ได้คนอย่างนี้ไม่ฟังใครหรอก
Panda Rabbit
6 เมษายน เวลา 17:47 น.
6 เมษายน เวลา 17:47 น.
ความคิดเห็นที่ 1
ต้นทุนทำธุรกิจที่ไทยแพงกว่าที่ญี่ปุ่น ค่าเช่าที่ห้างในไทยไล่ๆกับค่าเช่าที่ที่ญี่ปุ่น
ต้นทุนวัตถุดิบนำเข้ามาแพงกว่าต้นทุนวัตถุดิบ local เวลาอยู่ในญี่ปุ่นเอง
ต้นทุนวัตถุดิบนำเข้ามาแพงกว่าต้นทุนวัตถุดิบ local เวลาอยู่ในญี่ปุ่นเอง
สมาชิกหมายเลข 6068315
5 เมษายน เวลา 17:43 น.
5 เมษายน เวลา 17:43 น.
แหล่งที่มา pantip.com
ต้นทุนวัตถุดิบนำเข้ามาแพงกว่าต้นทุนวัตถุดิบ local เวลาอยู่ในญี่ปุ่นเอง
5 เมษายน เวลา 17:43 น.
อย่างวันก่อนดูรายการยูทูป คนไทยไปอยู่เดนมาร์ก จะทำส้มตำครกหนึ่ง ต้องซื้อมะละกอลูกละ 400 บาท
5 เมษายน เวลา 17:45 น.
5 เมษายน เวลา 19:52 น.
5 เมษายน เวลา 22:26 น.
จากคนเคยอาศัยอยู่ในยุโรปทางตอนเหนือ. ครับ.
6 เมษายน เวลา 09:23 น.
6 เมษายน เวลา 15:43 น.
6 เมษายน เวลา 21:45 น.
5 เมษายน เวลา 22:30 น.
2 ค่าจ้างเชฟญี่ปุ่นอีก
3 จำนวนคนกินที่ไทยเทียบญี่ปุ่นไม่ได้
5 เมษายน เวลา 23:27 น.
ที่ญี่ปุ่น
ข้าวหุงจากโรงงาน ปลาหั่นจากโรงงาน
ข้าวใช้เครื่องปั้น ใช้เครื่องหยอดวาซาบิ แล้วให้พนักงานรายชั่วโมงเอาปลาโปะบนข้าว แล้วจัดเรียงลงส่ยพาน
7 เมษายน เวลา 16:13 น.
ถ้าวาปเข้ามาได้เลยไม่มีค่าใช้จ่ายขนส่ง
ไม่เสียกระทั่งภาษี เพราะตรวจไม่เจอ
แนะนำไปขนยา ขนอาวุธสงคราม
น่าจะเวิร์คกว่า
6 เมษายน เวลา 01:26 น.
6 เมษายน เวลา 07:54 น.
อาหารไทย ไปทำขายทั่วโลก ราคาที่ไทยถูกสุด
อาหารฝรั่งมาทำขายเมืองไทย อาหารฝรั่งแพงกว่าประเทศต้นทางหมด
อาหารญี่ปุ่นมาทำขายเมืองไทย อาหารญี่ปุ่นแพงกว่าประเทศต้นทางหมด
6 เมษายน เวลา 09:03 น.
6 เมษายน เวลา 11:40 น.
ค่าแรงพาทไทม์ไทยไปไกลสุดคือก๋วยเตี๋ยวปากซอย 40฿/h
ค่าครองชีพกับค่าแรงไทยไม่ค่อยสมดุลเลย
8 เมษายน เวลา 14:21 น.
ค่าแรงขั้นต่ำไทย ทำทั้งวัน 331 ซูชิ จาน40 =ทำงานทั้งวัน กินซูชิได้ 8จานกว่าๆเอง
มันต่างกันเกินไปไหม
แล้วเรื่องต้นทุน เป็นไปไม่ได้เลย ที่ค่าเช่าที่ กทม จะแพงกว่าโตเกียว ค่าจ้าง พนงก็ถูกกว่ายังไงที่ไทย ต้นทุนก็ถูกกว่าแน่ๆ
6 เมษายน เวลา 15:49 น.
ไม่ได้สรุปว่าตัวเลขถูกต้องหรือความเห็นนี้เป็นคำตอบของเจ้าของกระทู้นะครับ เเต่จะบอกว่าเป็นความเห็นคุณภาพที่อยากเห็นในพันทิปครับ
6 เมษายน เวลา 18:11 น.
6 เมษายน เวลา 18:24 น.
แล้วจะถามทำไม?
6 เมษายน เวลา 18:34 น.
6 เมษายน เวลา 19:47 น.
6 เมษายน เวลา 19:56 น.
คือต้นสังกัดที่นั่นก็เอากำไร คนไทยที่ซื้อมาเปิดก็จะเอากำไร
ราคาของก็ต้องแพงกว่าญี่ปุ่นทำเองไม่ต้องแบ่งกำไรใคร
อย่างร้านขายของร้อยเยน
พวกไดโ*ะ แพงกว่าที่ญี่ปุ่นเยอะ
6 เมษายน เวลา 17:26 น.
6 เมษายน เวลา 17:47 น.
6 เมษายน เวลา 18:07 น.
เราก็ยังไม่รู้เลยว่าทำไม
หรือนายก็ไม่รู้
6 เมษายน เวลา 21:29 น.
6 เมษายน เวลา 21:31 น.
6 เมษายน เวลา 21:34 น.
อย่างที่สองคือการตั้งราคาเผื่อความผันผวนของค่าเงินนั่นคือสิ่งจำเป็นที่ร้านค้าจากที่มาจากต่างประเทศเค้าต้องคำนึงถึงถ้าตั้งตามราคาค่าเงินแบบเป้ะๆเค้าก็คงไม่มาทำธุรกิจระหว่างประเทศกันหรอกครับ
อย่างที่สามการตั้งราคาตามเรตที่ค่าครองชีพของเป้าหมายเป็นหลัก จขกท.เล่นเอาค่าแรงขั้นต่ำของประเทศมาแต่การวิเคราะห์เค้าจะใช้ฐานของเป้าหมายเป็นหลักอยู่แล้วดูจากสถานที่ตั้ง
และอีกอย่าง จขกท.เล่นเอาซูชิซึ่งเป็นอาหารที่เรียกได้ว่าหาได้แทบทุกที่ในประเทศเค้ามาเปรียบเทียบกับค่าแรงขั้นต่ำในไทยและญี่ปุ่นเอาจริงๆในไทยน่าจะเปรียบกับข้าวเหนียวหมูปิ้งหรือซูชิตลาดนัด 5บาทเอาถึงจะสมเหตุผลมากกว่านะ แถมยังเปรียบกับแค่เรื่องอาหารไม่เปรียบกับค่าใช้จ่ายอื่นๆด้วยซึ่งมันไม่ถูกต้องน่ะ
6 เมษายน เวลา 22:18 น.
ไม่ต้องไป ตปท. หรอก
ข้ามไปเกาะเสม็ด ก็บวกราคาละจ้า
ไม่ให้เค้าคิดค่าดำเนินการเลยเนาะ
6 เมษายน เวลา 18:05 น.
แบบพารากอน ctw อะไรแบบนี้
ตารางเมตรละสี่หรือห้าพันบาท
ไม่ใช่ค่าเช่าที่ใน กทม แบบปกตินะครับ
แพงกว่าข้างถนนหลายๆที่ในโตเกียว
6 เมษายน เวลา 18:15 น.
ซูชิ 100 เยน เป็นเพียงแค่ชื่อร้าน ไม่ใช่ราคา
6 เมษายน เวลา 18:21 น.
6 เมษายน เวลา 18:25 น.
6 เมษายน เวลา 18:26 น.
6 เมษายน เวลา 18:29 น.
6 เมษายน เวลา 18:33 น.
7 เมษายน เวลา 16:36 น.
6 เมษายน เวลา 18:45 น.
6 เมษายน เวลา 18:56 น.
6 เมษายน เวลา 19:47 น.
และก็มีตัวเลขประกอบชัดเจน
ส่วนความเห็น ก็คงแล้วแต่ความคิดของแต่ละคนกันไป
6 เมษายน เวลา 20:05 น.
6 เมษายน เวลา 21:11 น.
6 เมษายน เวลา 21:31 น.
6 เมษายน เวลา 21:32 น.
ไม่ว่าจะนม นมข้นหวาน น้ำตาล
พวกวัตถุดิบที่นำเข้า เช่น กาแฟ ใบชา โกโก้ ก็เป็นวัตถุที่เก็บรักษาได้นาน ขนส่งทางเรือได้
ลองเทียบซูชิ ปลา ข้าว ซอสต่างๆ วาซาบิ มีอะไรใช้วัตถุดิบ local บ้าง
ปลาที่นำเข้า ก็ต้องขนส่งทางเครื่องบิน ปลา 5 kg ต้อง pack น้ำแข็งรวมมาด้วยอีกอย่างน้อย 5 kg รวมพวกกล่องโฟม วัสดุพันต่างๆ รวมๆแล้ว 12-15 kg
พอเห็นความต่างมั้ย
7 เมษายน เวลา 16:21 น.
8 เมษายน เวลา 22:22 น.
9 เมษายน เวลา 13:45 น.
7 เมษายน เวลา 08:48 น.
เอื้อผลประโยชน์ให้นายทุนต่างชาติ
ร้านซูชิหมุนธรรมดาๆในญี่ปุ่นที่คนญี่ปุ่นไม่ค่อยกินด้วยซ้ำ
กลับกลายเป็นอาหารหรูเริศในไทย
7 เมษายน เวลา 10:06 น.
1. เวลาเทียบค่าแรง คุณต้องเทียบกับในภูมิภาค เพราะคุณไม่มีเทคโนโลยีในมือ ภาษาก็ไม่ได้ ค่าแรงไทยแพงที่สุดเทียบกับ ในกลุ่ม TIP (Thailand, Philippine, Indonesia) + CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar, Vietnam)
2. ถ้าพูดถึงเอื้อนายทุนต่างชาติ สิงคโปร์ เวียดนามเอื้อให้มากกว่า ลดภาษีเงินได้ ดึงให้ทุนนอกเข้ามาลงทุนในประเทศ ของไทยยังต้องมาขอ BOI ซึ่งเงื่อนไข บอกตรงๆว่าสู้เขาไม่ได้
3. ซูชิสายพาน คุณคิดจริงๆหรือว่าคนญี่ปุ่นไม่ค่อยกิน ในญี่ปุ่นจะบอกให้ว่า เป็นที่นิยมมาก อย่าง sushiro นี่คนก็รอคิวกันเป็นชั่วโมงเหมือนกัน ขนาดว่ามีหลายสาขาในแต่ละเมือง และ sushiro สาขา CTW นี้ ก็มีคนญี่ปุ่นแท้ๆมาต่อคิวกินเยอะพอสมควรเหมือนกัน
4. Sushiro ไม่เคยเป็นอาหารหรูสำหรับผม ที่ CTW ก็ไม่ใช่ คุณภาพแค่ดีพอใช้ แต่ถ้าให้เทียบนะ คงคล้ายที่ผมมอง McDonald, KFC ยังมีพวกแบรนด์ราคาประหยัดอีกเยอะพอสมควร ที่เข้ามาในไทยแล้ว คนกลับให้ราคา เช่น Yoshinoya, Muji, Ikea
8 เมษายน เวลา 15:03 น.
คนญี่ปุ่นส่วนใหญ่นิยมร้านซูชิแบบที่เป็นเจ้าของร้านทำเอง เรียกว่าโอมากาเสะรึเปล่านะ คือไม่หรูอย่างไทย แต่ก็คุ้มค่า ราคาดีมากกว่าซูชิสายพานเยอะ
ซูชิสายพานนี่เรียกว่า แวะทานแก้หิวน่าจะถูกกว่านะ
ส่วนเรื่องราคาไม่สมเหตุสมผลก็คงตามนั้นแหละค่ะ ร้านบ้านๆมาเปิดในเซ็นทรัลเวิล กลุ่มเป้าหมายเค้าคงไม่ใช่แรงงานทั่วไป แรงงานทั่วไปคงกินซูชิคำละ10 ถึงจะสมเหตุสมผลสินะคะ
9 เมษายน เวลา 01:25 น.
ผมไปทานบ่อยกว่าคุณแน่นอน และเคยทานหลายสาขาด้วย
พวกร้านซูชิที่เชฟปั้น จานละ 150-600 yen โดยประมาณ
โดยปกติแล้วจะเป็นพวกผู้ใหญ่ไปทาน
แต่พวก chain แบบ sushiro จะเหมาะกับครอบครัว หรือกลุ่มวัยรุ่นมากกว่า เด็กๆก็ชอบเพราะได้กดสั่งเอง
Sushiro ที่ญี่ปุ่น จะไม่ได้ต้องต่อคิวทานตลอดเหมือนที่ CTW แต่ถ้าคุณไป ศุกร์เย็น, เสาร์-อาทิตย์ ช่วงมื้อเที่ยงและเย็น มีรับบัตรคิวแน่ๆ
ส่วน Omakase ที่ญี่ปุ่นนั้น ต้องเป็นมื้อพิเศษครับ เพราะราคาจะแพงกว่าซูชิสายพานมาก
ไปกิน sushiro ตกหัวนึง 1200-3000 yen แต่ถ้า Omakase นี่ 10000+ yen สำหรับร้านบ้านๆ และ 20000+ yen สำหรับร้านดีๆ
คนญี่ปุ่นที่เป็น Salaryman บางคนได้เงินจากภรรยาไปทำงานเดือนละ 40,000-60,000 yen อย่าคิดว่าคนญี่ปุ่นทุกคนจะรวย
สำหรับเรื่องราคาสมเหตุผลหรือไม่นั้น อยู่ที่ strategy การตั้งราคา ถ้าตั้งแล้ว คนมาทานกันล้นหลามแบบนี้ ก็ต้องถือว่าเค้าตั้งสมเหตุผลแล้ว
ผมเองไปกินเพราะแค่อยากลองว่าในไทยจะเหมือนหรือต่างกับที่ญี่ปุ่นอย่างไร
แต่เดี๋ยวนี้ร้านอาหารญี่ปุ่นในไทย หลายๆร้าน พัฒนาคุณภาพเข้าไปใกล้เคียงกับที่ญี่ปุ่นมากขึ้น
ผมก็ไม่ได้รู้สึกประทับใจอะไรกับ Sushiro ในไทยมากมายจนถึงกับต้องกลับไปซ้ำ
แต่ถ้าเทียบกับ Yoshinoya, Royce, Daiso, Muji ผมว่า Sushiro ในไทยก็ไม่ได้ตั้งราคาแบบไร้เหตุผลแต่อย่างใด
9 เมษายน เวลา 07:46 น.
คุณน่ายังไม่เข้าใจคำว่า Omakase กับ Okonomi อย่างถ่องแท้ด้วยนะครับ
ลองไปอ่านดูก่อน
https://jpninfo.com/45111
เพราะถ้าคุณไปบอกว่า คนญี่ปุ่นนิยมไปทาน Omakase มากกว่า kaiten sushi (ซูชิสายพาน) นี่แสดงว่า คุณไม่เข้าใจวัฒนธรรมญี่ปุ่นเลย
สำหรับคนญี่ปุ่นทั่วๆไปที่รายได้ปานกลาง อาจจะไปทาน kaiten sushi หรือ Okonomi เดือนละ 1-4 ครั้ง แต่ Omakase อาจจะแค่ปีละ 1-2 ครั้งเท่านั้น
9 เมษายน เวลา 08:08 น.
อยู่ๆจะให้ขึ้นค่าแรงเป็น 6 ร้อย 8 ร้อย หรือพันบาทเลยมันเป็นไปไม่ได้ ถ้าจะทำอย่างนั้นพิมพ์แบงค์แจกคนไปเลยไม่ดีกว่าหรือไง แต่ระวังเป็นเหมือนเวเนซุเอลา หรือซิมบับเว
แล้วร้านนี้มันเริศหรูตรงไหน ในเมื่อเมืองไทยก็มีร้านซูชิที่ขายราคาพอๆกันอยู่ดื่นดาด ยกตัวอย่าง Sushi Express ที่ขายจานละ 30 บาท ร้านโด่งดังสาขาเยอะที่โก่งราคาแต่คุณภาพก็งั้นๆก็มีอยู่เยอะ
10 เมษายน เวลา 12:23 น.
ที่อเมริกา ผัดไทย ราคาขั้นต่ำ10-15เหรียญ ยังไม่รวมภาษี ยังไม่รวมค่าบริการ ยังไม่รวมค่าทิปที่ต้องจ่ายพนักงานอีก ไหนจะน้ำดื่มอีกอ่ะ รวมๆแล้ว ผัดไทยจานนึงเกือบๆ600เลยนะคุณ
แล้วจะมาเอาอะไรกะซูชิ100เยน ที่ต้องมาขายให้ตรงค่าเงินเปะๆ
ของแบบนี้มันมีค่าวัตถุดิบที่สูงกว่าประเทศต้นทางแน่ๆอยู่แล้ว อีกทั้งยังมีค่าภาษี รวมถึงคชจ.แผงอื่นๆอีก มันเลยขายตามราคาที่ประเทศต้นทางตั้งไว้ไม่ได้ยังไงล่ะ
7 เมษายน เวลา 11:21 น.
แต่ตั้งตามหลัก ราคาที่กำไรเยอะที่สุด ที่ลูกค้ายินดีที่จะจ่ายได้
คือ ถ้าขายแพงกว่านี้ อีกหน่อย ลูกค้าจะไม่ซื้อแล้ว
แต่ถ้าขายเท่านี้ ลูกค้ายังยินดีที่จะจ่าย
ถ้าจะถามว่า ทำไมแพงกว่าญี่ปุ่นเมื่อคำนวณตามต้นทุน
คนขายเขาก็จะย้อนถามไปว่า แพงกว่าแล้วยังไง ในเมื่อคนซื้อยินดีจ่าย
มันก็เหมือนรถยนต์ ทำไมรถยนต์ในไทยขายแพงจัง เมื่อเทียบกับราคาต่างประเทศ
ก็ขนาดขายแพงกว่าต่างประเทศรถยังเต็มถนนแบบนี้ ถ้าขายเท่าต่างประเทศคงไม่มีถนนพอให้ขับแน่ๆ
7 เมษายน เวลา 11:47 น.
แต่สุดท้ายแล้ว
เขามาเปิด กะกำไร ไม่ได้กะเท่าทุน
7 เมษายน เวลา 12:19 น.
มันมีบางช่วงที่ค่าเงินผกผัน เขาต้องตั้งราคาเผื่อตอนนั้น
7 เมษายน เวลา 12:44 น.
7 เมษายน เวลา 12:50 น.
7 เมษายน เวลา 13:14 น.
ตัวอย่างเช่น
cost-plus pricing คือการตั้งราคาขายโดย คำนวนต้นทุนบวก mark-up หรือกำไรที่ต้องการ
Value-based pricing คือการตั้งราคาโดยการคิดว่าลูกค้าให้ค่าหรือยินยอมที่จะจ่ายเงินเท่าไหร่
Competitive pricing คือการตั้งราคาเทียบกับคู่แข่งในตลาด
เพราะฉะนั้นการตั้งราคาของสาขาจากญี่ปุ่นก็ไม่มีความจำเป็นอะไรต้องตั้งเท่าญี่ปุ่น แต่ตั้งเท่าไหร่ก็ได้ที่คิดว่าจะทำให้ได้กำไรสูงสุด
7 เมษายน เวลา 15:39 น.
เข้ามาดู เจอแบบ….
ถามเอง
ตอบเอง
กดถูกใจเอง
เลือกคำตอบที่ชอบเอง
อืม…….ออกไปแบบเงียบๆ
7 เมษายน เวลา 15:50 น.
ยิ่งรู้สึกว่า ไม่น่ากดเข้ามาอ่านกระทู้เลย
7 เมษายน เวลา 17:33 น.
กะทู้นี้เกี่ยวกับกะทู้อื่น ?คืออะไร งง
7 เมษายน เวลา 22:42 น.
7 เมษายน เวลา 15:57 น.
ค่าแรงขั้นต่ำไทย ทำทั้งวัน 331 ซูชิ จาน40 =ทำงานทั้งวัน กินซูชิได้ 8จานกว่าๆเอง
งั้นตามโลจิกจะบอกว่าควรขายในราคาแรงงานไทย ซึ่งก็คือ 4.73 บาท? (100 เยน หรือ 28.4 บาท หาร 6 ตามความห่างค่าจ้างไทย vs jp)
ซูชิเจ้าอื่นตั้งขายในราคา 30 40 บาทขึ้นไป [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
อย่าง Sushi Express ซึ่งวัตถุดิบนำเข้าจากไต้หวัน ราคาจานละ 30 บาท [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ขนาดฟูจิ ยังขายข้าวห่อส่าหร่ายกุ้ง 80 บาท มีแค่ 6 ชิ้นเล็กๆ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ไอ้ 100 เยนนี้นำเข้าวัตถุดิบจากญี่ปุ่น เปิดร้านในห้าง Central World ปั้นโดยมาตรฐานญี่ปุ่นที่มีชื่อมานาน
แล้วจะให้ขายราคา 5 บาท?
ราคาเท่านี้ซูชิหลอกเด็กหน้าโรงเรียนยังแพงกว่าด้วยซ้ำ
7 เมษายน เวลา 16:26 น.
ไม่ขอพูดถึงเรื่องต้นทุนทั้งหลายครับ
การซื้อขายมันจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมันผู้ซื้อและผู้ขายพอใจกับราคาทั้ง 2 ฝ่าย ง่าย ๆ แค่นั้นเองครับ
ผมยังหาเหตุผลอะไรไม่ได้เลย ที่ต้องทำให้เขาขายราคาเท่าญี่ปุ่น
7 เมษายน เวลา 22:56 น.
ทำให้สามารถกดราคาได้ต่ำลงกว่าร้านซูชิทั่วไปในญี่ปุ่นที่ไม่ใช้พวกร้านสายพาน
มาเปิดสาขาที่ไทยจะไปกดต้นทุนให้ถูกเหมือนในญี่ปุ่นได้ยังไงกัน
แล้วเรื่องการตั้งราคาขาย อย่างร้านอาหารไทยในญี่ปุ่น
ขายข้าวกระเพราไก่ไข่ดาวราคา 1,320 เยน ขายก๋วยเตี๋ยวต้มยำกุ้ง 1,430 เยน
http://www.jasmine-thai.co.jp/en/menu/noodles.html
ราคาก็สูงกว่าราคาอาหารญี่ปุ่นจานเดียว พวกคัตสึด้ง กิวด้ง หรือราเม็ง ทั่วไปในญี่ปุ่นราคาอยู่ประมาณ 1,000 เยน
8 เมษายน เวลา 09:45 น.
8 เมษายน เวลา 11:16 น.
ถ้าไม่ใช่ร้อยเยนก็เสียจิตวิญญานของร้าน ผิดปณิทานของแบรนด์แต่แรก
การยอมรับของลูกค้าก็จะไม่เหมือนที่ยี่ปุ่น
8 เมษายน เวลา 11:49 น.
ของแบบนี้คงไม่มีใครโง่เอาอัตราค่าเงินแลกเปลี่ยนมาคิดกันตรงๆหรอก
8 เมษายน เวลา 12:30 น.
8 เมษายน เวลา 12:49 น.
กาแฟสตาร์บัคส์ในไทยแพงอันดับ4ของโลก
ผลสำรวจราคากาแฟสตาร์บัคส์ที่ขายอยู่ในประเทศต่างๆ ทั่วโลกพบว่า ทุกประเทศล้วนมีราคาแพงกว่าที่ขายในสหรัฐฯ
โดยไทยเป็นประเทศที่กาแฟสตาร์บัคส์มีราคาแพงเป็นอันดับที่ 4 ของโลก
https://www.voicetv.co.th/read/488182
แล้วที่ว่าถ้าไม่ใช่ร้อยเยนก็เสียจิตวิญญานของร้าน ผิดปณิธาน
ขอดูหน่อยว่าปณิธานของร้านเขาว่าไว้อย่างไรบ้าง เอาแบบเป็นทางการเลยนะอยากรู้
8 เมษายน เวลา 13:23 น.
ก้อปมาจากในลิ้งอ่ะ
8 เมษายน เวลา 14:03 น.
Caffe Latte (Tall) 2.95 USD
https://www.starbucks.com/menu
Caffe Latte (Tall) 120 บาท
https://www.starbucks.co.th/th/menu/
อัตราค่าเงินแลกเปลี่ยน 2.95 USD = 92.80 บาท
แล้วเรื่องปณิธานนี่ว่าไง
อันนี้ในเว็บทางการ เขาบอกว่าไงบ้าง
http://www.akindo-sushiro.co.jp/company/philosophy.html
8 เมษายน เวลา 14:10 น.
8 เมษายน เวลา 12:07 น.
8 เมษายน เวลา 12:14 น.
มันคือการตั้งราคาแบบระบุ position ร้านไปเลย ว่าต้องการขายราคานี้
ในไทยตอนนี้มีอยู่ไม่กี่ที่ที่เป็นซูชิสายพาน ตั้งราคาเท่าไร ถ้าคุณภาพออกมา ผู้บริโภครับได้ ไปกิน กินซ้ำ ก็ถือว่า success ในแง่ของการเปิดร้าน
8 เมษายน เวลา 15:15 น.
8 เมษายน เวลา 18:38 น.
นอกจากค่าแรง ค่าที่ มันยังมีต้นทุนวัตถุดิบด้วยครับ
ปลา อาหารทะเลหลายอย่าง ต้องนำเข้ามาจากญี่ปุ่น
ไม่รู้ว่าเค้าไปดีลราคากันแบบไหน แต่ถ้าสมมติว่าใช้ของจากแหล่งเดียวกับที่กินกันในญี่ปุ่น
ราคาที่ซื้อมาต่อหน่วยก็น่าจะเป็นราคาเดียวกับที่ญี่ปุ่นซื้อแล้ว
จากนั้นก็มามีค่าขนส่ง ค่าอะไรอีก
สมมติ ให้ไทยใช้ปลาจากแหล่งเดียวกับญี่ปุ่น ให้ราคาเป็น x
ญี่ปุ่น ค่าปลา x บาท บวกกับค่าแรง ต้นทุนสถานที่ ไฟฟ้าปัจจัยต่างๆ(ที่น่าจะสูงกว่าไทย) ได้จานละ 29-30 บาท
ไทย ค่าปลา x บาท บวกกับค่าแรง ต้นทุนสถานที่ ไฟฟ้าปัจจัยต่างๆ(ที่น่าจะถูกกว่าญี่ปุ่น) ได้จานละ 40 บาท
ซึ่งส่วนต่าง 10 บาทต่อจานนี้ มันสมเหตุสมผลกับข้างล่างนี้หรือไม่ น่าจะเป็นข้อสงสัยของกระทู้นี้นะครับ
1) ค่าแรงไทยที่ถูกกว่าญี่ปุ่นแท้ๆ (ข้อเท็จจริง) ⇒ จึงควรถูกกว่าราคาที่ญี่ปุ่นขายต่อจาน
2) ค่านำเข้าจากประเทศญี่ปุ่นเข้ามาไทย ⇒ เป็นส่วนที่น่าจะทำให้ราคาขึ้นจากราคาขายต่อจานที่ญี่ปุ่น
3) ค่าสถานที่ ⇒ ที่ไทย ขึ้นห้างกลางเมืองเป็นส่วนใหญ่ ต้นทุนสถานที่ ที่ไทยถูกกว่าจริงหรือไม่
9 เมษายน เวลา 09:52 น.
– จากที่ดูข้อมูลทาง Sushiro มีการเปิดสาขาในหลายประเทศ ซึ่งในต่างประเทศก็จะมีราคาสูงกว่าญี่ปุ่น เช่น ฮ่องกง ราคาที่ 12 ดอลล่าร์ฮ่องกง คิดเป็นเงินไทยประมาณ 48 บาท
– ราคา 100 เยน น่าจะเป็นการโฆษณาของร้านช่วงเริ่มต้นในญี่ปุ่น เพื่อดึดดูดลูกค้าและภายในญี่ปุ่นมีร้านซูชิจำนวนมาก จึงต้องสร้างจุดขายที่แตกต่าง
การเปรียบเทียบกับ Starbucks
– ส่วนตัวคิดว่าการนำ Sushiro ที่เน้นด้านการควบคุมต้นทุนและขายถูกมาเปรียบกับ Starbucks ที่มีกำไรต่อหน่วยสูงมาเปรียบเทียบกันค่อนข้างยาก จากการที่ Starbucks มีกำไรต่อหน่วยสูงจึงทำให้ตั้งราคาเดียวทั่วโลกอาจมีความเป็นไปได้มากกว่า
การทำกำไร
– ถ้าหากร้านขายหน่วยละ 40 บาทและยังคงมีลูกค้าอย่างต่อเนื่องก็จะไม่มีสาเหตุให้ควรปรับราคา
– สมมุติว่าต้นทุนต่อหน่วย 15-25 บาท ขาย 40 กำไร 15 บาท เป็นอย่างน้อย ถ้าหากลดเหลือ 30 บาท จะต้องขายมากขึ้นอีก 2-3 เท่า จะคุ้มหรือไม่ เนื่องจากเป็นร้านอาหารจะมีการจำกัดเรื่องโต๊ะ จำนวนหน่วยที่ผลิตต่อชั่วโมง ระยะเวลาจำหน่าย และขั้นตอนการเดลิเวอรี่
– ในกรณีที่เปิดด้วยราคาถูกมากเกินไป จะส่งผลต่อการทำโปรโมชั่น (ไม่มีส่วนต่างไว้ทำ เช่น ลดราคา) และเมื่อต้องขึ้นราคาในภายหลังจะทำให้ลูกค้ารู้สึกไม่ดีต่อแบรนด์ ในทางกลับกับการเปิดราคาไว้สูงกว่าค่อยทำส่วนลดจะดีกว่า (ถ้าขึ้นราคาลูกค้าจะเข้าใจว่าใช้วัตถุดิบเดิมที่ถูกกว่ามาเพิ่มราคา, ในทางกลับกันถ้าลดราคาคือใช้วัตถุดิบดีแต่ลดราคา)
9 เมษายน เวลา 12:29 น.
9 เมษายน เวลา 16:25 น.
11 เมษายน เวลา 15:17 น.