ทำไมเราไม่ทำเส้นบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปให้เหนียวแบบของเกาหลี และพัฒนาขนมเข่งให้เป็นแบบโมจิ
ในอุตสาหกรรมอาหาร ทำไมเราไม่ทำเส้นบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป
ให้เหนียวแบบของเกาหลี และพัฒนาขนมเข่งให้เป็นแบบโมจิ
ทั้งที่วัตถุดิบหลักเราต่างมีเหมือนกัน
แถมจะทำให้ขายได้ราคาดีกว่า
ให้เหนียวแบบของเกาหลี และพัฒนาขนมเข่งให้เป็นแบบโมจิ
ทั้งที่วัตถุดิบหลักเราต่างมีเหมือนกัน
แถมจะทำให้ขายได้ราคาดีกว่า
Tacoma
22 กรกฎาคม เวลา 19:36 น.
22 กรกฎาคม เวลา 19:36 น.
ความคิดเห็นที่ 8
ขนมเข่งเป็นขนมของจีน
ไม่ใช่ของไทยหรือเกาหลี
เป็นขนมที่นิยมทำขายตามเทศกาล
เพื่อใช้ในการไหว้เจ้า
ไม่ได้เป็นขนมสำหรับกินเล่นที่มีขายตลอดปี
การพัฒนาจึงอาจไม่คุ้มการลงทุน
ถ้าคนทำมีฝีมือเก่งๆ ขนมเข่งจะอร่อยมากทีเดียว
สมัยนี้พัฒนาใส่มะพร้าวอ่อนเพิ่มก็ทำให้อร่อยขึ้นมากแล้ว
ไม่ใช่ของไทยหรือเกาหลี
เป็นขนมที่นิยมทำขายตามเทศกาล
เพื่อใช้ในการไหว้เจ้า
ไม่ได้เป็นขนมสำหรับกินเล่นที่มีขายตลอดปี
การพัฒนาจึงอาจไม่คุ้มการลงทุน
ถ้าคนทำมีฝีมือเก่งๆ ขนมเข่งจะอร่อยมากทีเดียว
สมัยนี้พัฒนาใส่มะพร้าวอ่อนเพิ่มก็ทำให้อร่อยขึ้นมากแล้ว
ขนมเข่งก็คือขนมเข่ง
ถ้าอยากกินแป้งแบบโมจิก็กินโมจิ
ไม่ใช่กินโมจิที่หน้าตาเหมือนขนมเข่ง
ชนมแต่ละชนิดก็ต้องมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ไม่งั้นก็คงเหมือนกันไปหมด
สมาชิกหมายเลข 1907344
22 กรกฎาคม เวลา 23:04 น.
22 กรกฎาคม เวลา 23:04 น.
แหล่งที่มา pantip.com
22 กรกฎาคม เวลา 19:44 น.
23 กรกฎาคม เวลา 05:40 น.
ตาม คห 1-1 เลย
23 กรกฎาคม เวลา 14:16 น.
23 กรกฎาคม เวลา 17:52 น.
23 กรกฎาคม เวลา 20:13 น.
22 กรกฎาคม เวลา 20:02 น.
22 กรกฎาคม เวลา 20:04 น.
แต่ ทำแล้วจะมีคนซื้อหรือเปล่า ถูกปากผู้บริโภคส่วนใหญ่ในประเทศเราหรือเปล่า
เมื่อเปลี่ยนวัตถุดิบ วัตถุดิบใหม่จะทำให้ต้นทุนจะเป็นเพิ่มขึ้นหรือลดลงอีกกี่ %
การผลิตใหม่ จะต้องเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตยังไงบ้าง ต้องเปลี่ยนเครื่องมืออุปกรณ์อะไรบ้าง ต้องลงทุนบรรจุภัณฑ์ใหม่ ทั้งออกแบบ และตัวบรรจุภัณฑ์เอง . . ผู้ผลิตมีทุนพอหรือเปล่า ยอมเสี่ยงลงทุนหรือเปล่า
ถ้าทำแล้ว ต้นทุนเพิ่มขึ้น ต้องขายแพงขึ้น ผู้บริโภคซื้อน้อยกว่าที่คาด มันก็ไม่คุ้มกับการผลิตค่ะ
22 กรกฎาคม เวลา 20:35 น.
ของเกาหลีนานๆทานทีก็ได้อยู่
แต่ถ้าประจำยังชอบแบบเดิมๆครับ
22 กรกฎาคม เวลา 20:53 น.
คนผลิตก็เก่งลดต้นทุนแล้วยังทำได้ขนาดนี้
ส่วนขนมเข่งผมว่ามันก็อร่อยแบบของมัน ถ้าใครอยากทำโมจิก็ไปทำสิใครไปห้าม
22 กรกฎาคม เวลา 21:07 น.
แต่จริง ๆ ยี่ห้อของไทยมีเส้นแบบเกาหลีแต่น่าจะซองสิบกว่าบาท(ไม่เคยมองเพราะไม่ชอบ) แต่เห็นพ่ีเรากินอยู่
22 กรกฎาคม เวลา 22:01 น.
ไม่ใช่ของไทยหรือเกาหลี
เป็นขนมที่นิยมทำขายตามเทศกาล
เพื่อใช้ในการไหว้เจ้า
ไม่ได้เป็นขนมสำหรับกินเล่นที่มีขายตลอดปี
การพัฒนาจึงอาจไม่คุ้มการลงทุน
ถ้าคนทำมีฝีมือเก่งๆ ขนมเข่งจะอร่อยมากทีเดียว
สมัยนี้พัฒนาใส่มะพร้าวอ่อนเพิ่มก็ทำให้อร่อยขึ้นมากแล้ว
ขนมเข่งก็คือขนมเข่ง
ถ้าอยากกินแป้งแบบโมจิก็กินโมจิ
ไม่ใช่กินโมจิที่หน้าตาเหมือนขนมเข่ง
ชนมแต่ละชนิดก็ต้องมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ไม่งั้นก็คงเหมือนกันไปหมด
22 กรกฎาคม เวลา 23:04 น.
22 กรกฎาคม เวลา 23:18 น.
ขนมเข่งเป็นขนมของจีน ใช้ไหว้ตามเทศกาล ไม่มีความจำเป็นต้องดัดแปลงให้กลายเป็นขนมญี่ปุ่น
อยากกินโมจิหรือเส้นเกาหลีก็หากินได้ ไม่มีความจำเป็นต้องไปดัดแปลง 2 อย่างข้างต้น
ให้อาหารแต่ละอย่างมีเอกลักษณ์บ้างเถอะ
22 กรกฎาคม เวลา 23:24 น.
มันบอกว่าถ้าทำเส้นนิ่มละขายดี ตอนนี้นิชชินยอดคงแซงมาม่าไปละ
23 กรกฎาคม เวลา 00:36 น.
23 กรกฎาคม เวลา 01:08 น.
23 กรกฎาคม เวลา 01:42 น.
เราว่าเป็นที่ราคาค่ะ อย่าลืมว่าราคาขายต่างกันเอาเรื่องอยู่ ตัว Premium ในไทย ราคาก็ยังไม่ถูกกว่าของเกาหลีเกินครึ่ง
อีกส่วนที่เราคิดว่ามีผลคือ พฤติกรรมการปรุง
เราว่าคนไทยส่วนใหญ่น่าจะใส่น้ำร้อน หรือเอาเข้าไมโครเวฟมากกว่า เอาไปต้ม
ในขณะที่เกาหลี การต้มรามยอนดูเป็นเรื่องปกติ
ทางแบรนด์ของไทย อาจจะไม่แน่ใจว่าถ้าทำเส้นแบบที่ต้องต้มอย่างเดียว จะขายได้ดีแค่ไหน คนไทยจะยอมปรับพฤติกรรมไหม ไม่นับเรื่องราคาที่น่าจะแพงขึ้นนะ
โดยส่วนตัวเคยมีประสบการณ์ไปแอบๆ ดูเค้าทดลองเส้นที่ยังอยู่ในกระบวนการวิจัย ยังไม่เป็น Final Product สิ่งที่เห็นคือ ขนาดเตาที่ใช้ต้มเส้นต่างกัน ยังทำให้ตัวเส้นออกมาต่างกันเลย ไม่ต้องพูดถึงไมโครเวฟ ที่ไม่รอดเส้นออกมาไม่เหมือนกับการต้มด้วยเตาที่กำหนด เอาง่ายๆ คือ เวฟยังไงก็ไม่สุกแบบที่ต้องการ … เราเลยเดาว่าเรื่องนี้อาจจะเป็นอีกหนึ่งปัจจัยค่ะ
23 กรกฎาคม เวลา 02:06 น.
หรือเวลากลับมาเมืองไทยก็จะเป็นของพรีออเดอร์ที่เพื่อนๆ คนไทยในต่างประเทศฝากซื้อกันมาก
23 กรกฎาคม เวลา 08:24 น.
25 กรกฎาคม เวลา 04:14 น.
ถ้าชอบแบบเหนียวก็อันที่ชื่อโอเรียนเต็ลไงคะ มีเส้นแบบต่างๆ ให้เลือก
แต่
บะหมี่กึ่งของเกาหลี แคลสูงมากนะคะ
เหมาะกับเมืองหนาวที่เดินเยอะๆ
ลองเ่ทียบแคล และราคาดู เริ่มต้นของเกาหลี ในร้านสะดวกซื้อก็ถ้วยละ 30 บาทแล้วค่ะ
23 กรกฎาคม เวลา 09:49 น.
23 กรกฎาคม เวลา 14:28 น.
ส่วนเส้นบะหมี่ ก็จะเป็นสูตรของแต่ละประเทศ คนกินแล้วรู้เลยว่าเป็นของที่ไหน ไทย จีน ญี่ปุ่น เกาหลี
23 กรกฎาคม เวลา 15:08 น.
ส่วนเหตุที่ไทยเราไม่ค่อยทำ ก็เรื่องต้นทุนครับ
เห็นมีขายอยู่ แต่ราคาก็ตามต้นทุน ห่อละเป็นสิบบาท แพง คนไทยซื้อน้อย บางคนก็ไม่ชอบด้วยซ้ำ ราคาแพงกว่าทั่วไปอีก
เพิ่มเงินอีกนิด ได้กินของเกาหลี สูตรต้นตำรับแล้ว
ตอบแบบ ผู้บริโภคครับ
23 กรกฎาคม เวลา 22:59 น.
ขนมแต่ละชนิดก็มี เนื้อสัมผัส รสชาติ ที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง
24 กรกฎาคม เวลา 11:10 น.
ส่วนเรื่องบะหมี่นี่บ้านเราก็มีมาม่าแบบเกาหลีมาพักนึงแล้วนะ Oriental Kitchen ไง
24 กรกฎาคม เวลา 20:02 น.
24 กรกฎาคม เวลา 21:43 น.
ส่วนที่เค้าจะทำหรือไม่ทำ เค้าก็คงคิดมาก่อน และคิดมากว่าที่จขกทคิดอีก
ส่วนตัวก็ชอบเส้นมาม่าแบบของไทยนี่แหละ เส้นแข็งๆหน่อยเข้าจะน้ำซุปที่เผ็ดๆเปรี้ยวๆ
25 กรกฎาคม เวลา 03:03 น.
อยากให้เปลี่ยนการห่อใบตองเป็นแบบอื่น ที่กินสะดวกกว่านี้ ไม่รู้ทำได้ไหม
บางทีอยากกิน แต่ไม่อยากแกะห่อ เลอะมือมากกก
ถ้าทำแพ็คเกจแบบญี่ปุ่น อาจทำให้คนรุ่นใหม่ นิยมกินขึ้น และอาจขายได้ทั้งปี
โมจิญี่ปุ่นคลุกแป้งเคลือบนิดหน่อย เพื่อไม่ให้ติดมือ
แต่รสชาติไม่ได้เลย ขนมเทียนชนะเลิศกว่าเยอะ
26 กรกฎาคม เวลา 16:16 น.
คือ ที่เราสงสัย คือ ราคา ของ ขนมโมจิ หรือ แป้งตํอก
ทำไมระดับหลักเกือบร้อยเลย ทั้งที่วัตถุดิบ มีแค่แป้งกับน้ำและเกลือ
เราเลยคิดว่า วัตถุดิบ มันเหมือนขนมเข่ง แต่ทำไมราคาต่างกันขนาดนี้
เลยสงสัยว่า ไทยทำเอง ผลิต แป้งต้อก แป้งโมจิเองได่มั้ย ไม่ต้องนำเข้ามา
จะได้ราคาถูกลง ถ้าวัตถุดิบมันเหมือนกัน
28 กรกฎาคม 2564 เวลา 02:57 น.
เอาเข้าจริงผมอยากให้ปลดล็อกอุตสาหกรรมสุราของไทยด้วยนะ จะได้มีเหล้าไทย เบียร์ไทย ไวน์ไทยมาสู้ของนอกบ้าง โซจูกับสาเกนี่ก็เหล้าขาวดีๆนี่เองครับ
28 กรกฎาคม 2564 เวลา 23:41 น.